วันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

โครงการพระราชกรณียกิจ

                                             โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ“คลองลัดโพธิ์”


         คลองลัดโพธิ์เปนชื่อคลองเดิม อยูบริเวณ ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง เขตจังหวัด สมุทรปราการและ กรุงเทพมหานคร เปนคลองลัดทางเหนือ-ใตของคุงน้ําของแมน้ําเจาพระยา แตมีสภาพตื้นเขิน มีความกวางเพียง 10-15 เมตร ความยาวราว 600 เมตร เนื่องจากสภาพของแมน้ําเจาพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณ รอบพื้นที่บริเวณบางกระเจานั้นมีความยาวถึง 18 กิโลเมตร นั้นทําใหการระบายน้ําที่ทวมพื้นที่ชั้นในของ กรุงเทพมหานครเปนไปไดชา ไมทันเวลาน้ําทะเลหนุน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯจึงมีพระราชดํารัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ใหพัฒนาใชคลองลัดโพธิ์ เปนพื้นที่บริหารจัดการน้ํา เพื่อแกปญหาน้ําทวม กรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ "เบี่ยงน้ํา" ( Diversion) และทรงเสด็จพระราชดําเนินทางชลมารคไปทรงเปด ประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ และทรงเปดสะพานภูมิพล 1 ภูมิพล 2 ในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โครงการพระราชดําริคลองลัดโพธิ์อยูภายใตการดูแลของหนวยงานหลัก 3 หนวยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ(กปร.) โดยใช หลักการการระบายน้ําที่หลากและน้ําที่ทวมทางสองฝงของแมน้ําเจาพระยาลงสูทะเลทันทีในชวงกอนที่น้ําทะเล หนุน และปดคลองลัดโพธิ์เมื่อน้ําทะเลหนุน เพื่อหนวงน้ําทะเลไมใหขึ้นลัดเลาะไปตามแนวแมน้ําเจาพระยาที่คด โคงถึง 18 กิโลเมตรกอนซึ่งใชเวลามากจนถึงเวลาน้ําลง ทําใหไมสามารถขึ้นไปทวมตัวเมืองได นอกจากนั้นยังชวย ลดเวลาการเดินทางของน้ําจาก 5 ชม.ใหเหลือเพียง 10 นาที เทานั้น

            ประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีศักยภาพในดานการผลิตไฟฟาดวยพลังน้ํา ซึ่ง กรมชลประทาน ไดรวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทําการศึกษาและวิจัย โดยการประดิษฐกังหันไฟฟาพลังน้ํา ไหลตนแบบขึ้นมา 2 แบบ คือ แบบหมุนตามแนวแกน ( Axial Flow) และแบบหมุนขวางการไหล ( Cross Flow) โดยใชใบพัดตนแบบที่วิเคราะหและผลิตขึ้นแบบหมุนตามแนวแกนมีเสนผาศูนยกลาง 2 เมตร และใบพัด แบบหมุนขวางการไหลมีเสนผาศูนยกลาง 1 เมตร ยาว 2.50 เมตร ที่ความเร็วน้ําออกแบบ 2 เมตรตอวินาที จะทํา ใหไดกําลังไฟฟาสูงสุด 5 กิโลวัตต โดยไดดําเนินการประกอบและติดตั้งกังหันทั้ง ๒ แบบกับโครงเหล็กที่ปรับขึ้นลง ไดบริเวณทายประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ เพื่อทําการทดลองผลิตกระแสไฟฟา ผลปรากฏวา ไดกําลังไฟฟา สูงสุดถึง 5.74 กิโลวัตต สูงกวาที่ไดวิเคราะหและคํานวณออกแบบไว ตัวอาคารประตูระบายน้ําเปนคอนกรีตเสริม เหล็ก มีชองประตูระบายน้ําที่ติดตั้งบานระบายน้ํา 4 ชอง กวางชองละ 14 เมตร โดยฤดูแลงจะปดบานระบายน้ํา ตลอดฤดู สวนฤดูน้ําหลากปดบานประตูเมื่อน้ําทะเลกําลังขึ้น และเปดบานประตูในชวงที่น้ําทะเลกําลังลง เริ่ม กอสรางเมื่อ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ถึง มิถุนายน พ .ศ. 2548 มีงบประมาณ 509 ลานบาท ซึ่งนอกจากเปน ประตูระบายน้ําแลว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานพระราชดําริใหพิจารณาใชพลังงานน้ําที่ระบาย ผานคลองลัดโพธิ์ใหเปนพลังงานไฟฟา โดยออกแบบเปนกังหันพลังน้ําอาศัยพลังงานจลนจากความเร็วของ กระแสน้ํา ติดตั้งบริเวณประตูระบายน้ําเพื่อผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ํา ซึ่งไดกําลังไฟฟาสูงสุดที่ 5.74 กิโลวัตตตอวัน หลังจากเปดใชงานโครงการ เมื่อเปรียบเทียบกับสภาวะกอนมีโครงการ การศึกษาการตรวจสอบการ ระบายน้ําของแมน้ําเจาพระยาบริเวณที่มีลักษณะทางกายภาพคลายคลึงกับโครงการคลองลัดโพธิ์จากสภาพจริง และ ศึกษาแบบจําลองทางกายภาพ พบวาการไหลของน้ําจากปากคลองลัดโพธิ์ ความแรงของน้ําไมพุงกระทบถึง ฝงซายของแมน้ําเจาพระยาดานตรงขามกับปลายคลองลัดโพธิ์ แตเกิดกระแสน้ําหมุนวนเขาหาฝงขวาของแมน้ํา ดานใกลกับ ปลายคลองลัดโพธิ์และการเปดประตูระบายคลองลัดโพธิ์ เวลาน้ําลงจะทําใหระดับน้ําหนาปากคลอง ลดลง ทําใหสามารถเพิ่มการระบายน้ํามากกวากรณีปดบานประมาณ 10- 30 เปอรเซ็นต ในชวงเวลาน้ําลง ต่ําสุด ผลการศึกษาแบบจําลองคณิตศาสตรของแมน้ําเจาพระยา ชวงระยะจากศูนยศิลปาชีพบางไทร ถึงปาก แมน้ําบริเวณปอมพระจุลจอมเกลา กรณีสมมุติเปนการไหลแบบคงที่คือระดับน้ําทะเลไมเปลี่ยนแปลง พบวาการ เปดประตูระบายคลองลัดโพธิ์ทําใหระดับน้ําตลอดชวงระยะของลําน้ําแบบจําลองลดลง และกรณีการไหลแบบไม คงที่ น้ําทะเลขึ้นลงสภาวะปกติ น้ําขึ้นสูงสุด + 1.30 ม.รทก. และลงต่ํา- 1.00 ม.รทก. ผลการจําลองการไหลใน ชวงเวลา 24 ชั่วโมง พบวา การเปดประตูระบายน้ําคลองลัดโพธิ์ชวยใหระดับน้ําในแมน้ําเจาพระยาชวงระยะตั้งแต ปากคลองถึงบางไทร รวมถึงบริเวณโคงออม ผานการทาเรือแหงประเทศไทย ลดลง สวนระดับน้ําดานปลายคลอง ถึงปากแมน้ํามีระดับสูงขึ้นเล็กนอย เนื่องจากปริมาณน้ําไหลเพิ่มขึ้น แต สภาพลําน้ําตั้งแตปลายคลองลัดโพธิ์ถึง ปากแมน้ํารูปตัดลําน้ํามีขนาดใหญ นอกจากคลองลัดโพธิ์จะชวยปองกันเรื่องภัยน้ําทวมไดแลว ทุกวันนี้บริเวณละแวกคลองลัดโพธิ์ยังไดกลาย มาเปนอีกหนึ่งแหลงทองเที่ยวของอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมีความนาสนใจในการทองเที่ยว เพราะบริเวณคลองลัดโพธิ์ไดจัดทําเปนสวนสาธารณะ ชื่อ “สวนสุขภาพลัดโพธิ์” ที่มีความรนรื่นดวยตนไมนอย ใหญ ใหใชเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ ออกกําลังกายไดอีกดวย